ให้ปลาฉันหนึ่งตัว ฉันมีกินแค่หนึ่งวัน สอนฉันจับปลา ฉันมีกินตลอดไป
เราต่างคุ้นเคยกับสุภาษิต
สุภาษิตจีนบทหนึ่งว่า ผู้เขียนประทับใจตรงที่ว่า เราสามารถตีความสุภาษิต(ชวนคิด)ดังกล่าวนั้น ให้เข้ากับเรื่องราวได้แทบทุกเรื่องทีเดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง "การให้ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน"
นี่เป็นความจริงแต่อยู่บนสมมติฐานว่า ผู้นั้นรู้วิธีจัดการกับปลาที่หามา คือ
การทำให้สุก มิฉะนั้นเขาก็ต้องกินปลาดิบ เสี่ยงต่อพยาธิใบไม้ในตับ
รู้วิธีถนอมอาหาร มิฉะนั้นเขาก็จะไม่มีปลากินในช่วงฤดูมรสุมที่ออกหาปลาไม่ได้
รู้วิธีเอาปลาไปขาย มิฉะนั้นถึงเขาก็จะได้กินแต่ปลา ไปตลอด !!!
มองมาที่ การพัฒนาคน.. หากเราให้เป็นของ เป็นเงิน ไม่ว่าจะครั้งเดียว
หรือขึ้นเงินเดือนกี่ร้อยกี่พันบาท ก็เปรียบเสมือนการให้ปลา
หากเราเพิ่มพูนวิชาชีพแก่เขา ก็เปรียบเสมือนการสอนจับปลา
แต่..ลำพังเพียงความรู้เฉพาะอย่าง มิได้การันตี ความสำเร็จในชีวิต
ว่าโดยหลักใหญ่แล้ว สุภาษิตจีนข้างต้นนั้น
เป็นข้อคิดเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือคนที่ด้อยกว่าเรา
จุดเน้นของสุภาษิตนี้อยู่ที่
ทำอย่างไรเราจะให้คนที่เราช่วยเหลือนั้นสามารถพึ่งพาตนเองได้
โดยที่เราเพียงช่วยเหลือเขาครั้งเดียวก็พอแล้ว ไม่จำเป็นต้องช่วยเหลือบ่อยๆ
…เขาจะมีปลากินตลอดชีวิต ถ้าเขารู้วิธีจับปลา…
สิ่งสำคัญก็คือว่า เขาจะยอมเรียนรู้วิธีจับปลาที่เราจะสอนให้เขาหรือเปล่า
และเขาขยันพอที่จะเริ่มต้นเรียนรู้และลงมือทำหรือไม่ บางคนก็อยากได้ปลามาง่ายๆ
โดยไม่ต้องไปลงจับให้เหน็ดเหนื่อยหรือเปลืองแรง วิธีง่ายๆ สำหรับเขาก็คือ “การขอ”
วันนี้มีใครมาสอนวิธีจับปลาให้ท่านบ้างหรือยัง ?
และตัวท่านเองได้สอนวิธีจับปลาให้ใครบ้างหรือยัง?
ปล. "เมื่อความสงสารมาแทนที่ความเข้าใจ จะทำให้ปิดกั้นการมองเห็นศักยภาพที่แท้จริงไป" การตกผลึกชีวิตเกิดจากการลงมือทำ แล้วเราจะพึ่งตัวเองได้อย่างยั่งยืน
"Give a man a fish, and you feed him for a day.
Teach a man to fish, and you feed him for a lifetime "
“ให้ปลาฉันหนึ่งตัว ฉันมีกินแค่หนึ่งวัน สอนฉันจับปลา ฉันมีกินตลอดไป"
“ให้ปลาฉันหนึ่งตัว ฉันมีกินแค่หนึ่งวัน สอนฉันจับปลา ฉันมีกินตลอดไป"
สุภาษิตจีนบทหนึ่งว่า ผู้เขียนประทับใจตรงที่ว่า เราสามารถตีความสุภาษิต(ชวนคิด)ดังกล่าวนั้น ให้เข้ากับเรื่องราวได้แทบทุกเรื่องทีเดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่อง "การให้ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน"
การทำให้สุก มิฉะนั้นเขาก็ต้องกินปลาดิบ เสี่ยงต่อพยาธิใบไม้ในตับ
รู้วิธีถนอมอาหาร มิฉะนั้นเขาก็จะไม่มีปลากินในช่วงฤดูมรสุมที่ออกหาปลาไม่ได้
รู้วิธีเอาปลาไปขาย มิฉะนั้นถึงเขาก็จะได้กินแต่ปลา ไปตลอด !!!
มองมาที่ การพัฒนาคน.. หากเราให้เป็นของ เป็นเงิน ไม่ว่าจะครั้งเดียว
หรือขึ้นเงินเดือนกี่ร้อยกี่พันบาท ก็เปรียบเสมือนการให้ปลา
หากเราเพิ่มพูนวิชาชีพแก่เขา ก็เปรียบเสมือนการสอนจับปลา
แต่..ลำพังเพียงความรู้เฉพาะอย่าง มิได้การันตี ความสำเร็จในชีวิต
ตัวอย่างแรก ทรัพย์สมบัติที่พ่อแม่มีอยู่ ถ้ายกให้หรือคอยแต่จะหยิบยื่นให้ลูกๆ ใช้อย่างเดียว
ไม่นานเดี๋ยวก็หมด แต่ถ้าพ่อแม่สอนให้ลูกเริ่มต้นทำงาน เรียนรู้ความลำบากในชีวิต เขาก็จะพึ่งตัวเองได้ การที่พ่อแม่ส่งเสริมลูกให้ทำงานตั้งแต่เด็ก ก็คือ “สอนวิธีจับปลา” ให้ลูกนั่นเอง
ไม่นานเดี๋ยวก็หมด แต่ถ้าพ่อแม่สอนให้ลูกเริ่มต้นทำงาน เรียนรู้ความลำบากในชีวิต เขาก็จะพึ่งตัวเองได้ การที่พ่อแม่ส่งเสริมลูกให้ทำงานตั้งแต่เด็ก ก็คือ “สอนวิธีจับปลา” ให้ลูกนั่นเอง
ตัวอย่างที่สอง การที่ครูสอนวิชาการให้ลูกศิษย์ ก็คือ การสอนวิธีจับปลาให้ลูกศิษย์
ตัวอย่างที่สาม การที่เราจะช่วยเหลือใครนั้น เราต้องช่วยเหลือเพื่อให้เขาช่วยเหลือตัวเองได้
ไม่ใช่ช่วยเหลือเพื่อให้เขามาขอความช่วยเหลือจากเราบ่อยๆ
ดังนั้น ถ้าจะช่วยเหลือเรื่องอะไร
ก็ต้องให้คำแนะนำแก่เขาด้วยเพื่อให้เขาสามารถพึ่งตัวเองได้ในโอกาสต่อไป
เช่น มีคนมาขอให้เราช่วยแก้ปัญหาเรื่องคอมพิวเตอร์ให้เขา
แทนที่เราจะนั่งแก้ให้เขาอย่างเดียว เราก็เรียกเขามาดูและอธิบายให้ฟังว่า
ปัญหามันเป็นอย่างนี้ ต่อไปถ้าปัญหานี้เกิดขึ้นอีก ก็ต้องทำแบบนี้ จดวิธีการไว้ให้เลย
นี่แหละเรียกว่า สอนวิธีจับปลาให้
การให้ความช่วยเหลือโดยที่ไม่แนะนำอะไรหรือทำแทนเลย เป็นการให้ปลากินอย่างเดียว
แต่ไม่สอนวิธีจับปลา ซึ่งเราภายหลังเราก็ต้องให้ปลาแก่เขาอยู่เรื่อย ๆ
หรือไม่ก็เขาจะมีปลากินเพียงแค่วันเดียว
หมายความว่า เขารอดพ้นปัญหาเฉพาะวันที่เราไปช่วยเท่านั้น
แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาเองได้ในภายหลัง หรือพึ่งตัวเองได้อย่างแท้จริง เพราะเขาไม่รู้วิธีการ
ก็ต้องให้คำแนะนำแก่เขาด้วยเพื่อให้เขาสามารถพึ่งตัวเองได้ในโอกาสต่อไป
เช่น มีคนมาขอให้เราช่วยแก้ปัญหาเรื่องคอมพิวเตอร์ให้เขา
แทนที่เราจะนั่งแก้ให้เขาอย่างเดียว เราก็เรียกเขามาดูและอธิบายให้ฟังว่า
ปัญหามันเป็นอย่างนี้ ต่อไปถ้าปัญหานี้เกิดขึ้นอีก ก็ต้องทำแบบนี้ จดวิธีการไว้ให้เลย
นี่แหละเรียกว่า สอนวิธีจับปลาให้
แต่ไม่สอนวิธีจับปลา ซึ่งเราภายหลังเราก็ต้องให้ปลาแก่เขาอยู่เรื่อย ๆ
หรือไม่ก็เขาจะมีปลากินเพียงแค่วันเดียว
หมายความว่า เขารอดพ้นปัญหาเฉพาะวันที่เราไปช่วยเท่านั้น
แต่ไม่สามารถแก้ปัญหาเองได้ในภายหลัง หรือพึ่งตัวเองได้อย่างแท้จริง เพราะเขาไม่รู้วิธีการ
ว่าโดยหลักใหญ่แล้ว สุภาษิตจีนข้างต้นนั้น
เป็นข้อคิดเกี่ยวกับการให้ความช่วยเหลือคนที่ด้อยกว่าเรา
จุดเน้นของสุภาษิตนี้อยู่ที่
โดยที่เราเพียงช่วยเหลือเขาครั้งเดียวก็พอแล้ว ไม่จำเป็นต้องช่วยเหลือบ่อยๆ
…เขาจะมีปลากินตลอดชีวิต ถ้าเขารู้วิธีจับปลา…
สิ่งสำคัญก็คือว่า เขาจะยอมเรียนรู้วิธีจับปลาที่เราจะสอนให้เขาหรือเปล่า
และเขาขยันพอที่จะเริ่มต้นเรียนรู้และลงมือทำหรือไม่ บางคนก็อยากได้ปลามาง่ายๆ
โดยไม่ต้องไปลงจับให้เหน็ดเหนื่อยหรือเปลืองแรง วิธีง่ายๆ สำหรับเขาก็คือ “การขอ”
วันนี้มีใครมาสอนวิธีจับปลาให้ท่านบ้างหรือยัง ?
และตัวท่านเองได้สอนวิธีจับปลาให้ใครบ้างหรือยัง?
Post a Comment